ผู้ใหญ่บ้านจากอดีตจนถึงปัจจุบัน มีผู้ใหญ่บ้านทั้งหมด 13 คน ดังนี้
- นายลี แสงแก้ว
- นายจำปา ชัยศร
- นายคำ สานุสันต์
- นายอ่อน ยอดสง่า
- นายผอง บุญสอน
- นายพรม คำสอน
- นายเสาร์ สมบัติวงศ์
- นายยอด มงคล
- นายหลัด ยอดสง่า
- นายคำภา เยี่ยงไธสงค์
- นายสมบัติ ยอดสง่า
- นายณัฐวุฒิ เพชรหงส์
- นางรัตนาพร เกษศิริ (คนปัจจุบัน)
สภาพทั่วไป
1.2.1 ที่ตั้ง บ้านหนองตอ หมู่ 8 ตำบลดอนแรด อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
1.2.2 เนื้อที่ เขตการปกครองมีพื้นที่ 4,920 ไร่ หรือ ตร.กม.
1.2.3 อาณาเขต เขตการปกครอง
อาณาเขตทางทิศเหนือ ติดต่อกับ แม่น้ำมูล
อาณาเขตทางทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านดอนแรด
อาณาเขตทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านบัวเสียว
อาณาเขตทางทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านหาญฮี
1.2.4 ลักษณะภูมิอากาศ เดือนมีนาคม – เดือนมิถุนายน จะเป็นช่วงฤดูร้อน
เดือนกรกฎาคม – เดือนตุลาคม จะเป็นช่วงฤดูฝน
เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์ จะเป็นช่วงฤดูหนาว
1.2.5 ลักษณะภูมิประเทศ
เป็นที่ลุ่มน้ำ
1.3 ประชากร
จำนวนครัวเรือน 150 ครัวเรือน
ชาย 409 คน หญิง 374 คน รวม 783 คน แยกตามอายุ
ช่วงอายุประชากร |
จำนวนเพศชาย (คน) |
จำนวนเพศหญิง (คน) |
จำนวนรวม (คน) |
น้อยกว่า 1 ปีเต็ม |
- |
2 |
2 |
1 ปีเต็ม - 2 ปี |
10 |
14 |
24 |
3 ปีเต็ม - 5 ปี |
17 |
19 |
36 |
6 ปีเต็ม - 11 ปี |
19 |
20 |
39 |
12 ปีเต็ม - 14 ปี |
18 |
23 |
41 |
15 ปีเต็ม - 17 ปี |
18 |
27 |
45 |
18 ปีเต็ม - 49 ปี |
235 |
130 |
365 |
50 ปีเต็ม - 60 ปีเต็ม |
40 |
58 |
98 |
มากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป |
60 |
73 |
133 |
รวมทั้งหมด |
409 |
374 |
783 |
- ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
1.4.1 การคมนาคม/การจราจร
ถนน 4 สาย
- ประเภทของถนน
- ถนนลูกรัง - สาย
- ถนนลาดยาง - สาย
- ถนนคอนกรีต 4 สาย
- อื่นๆ (ระบุ) - สาย
สะพาน - แห่ง
สะพานลอยคนข้าม - แห่ง
แม่น้ำ - แห่ง
คลองที่เป็นทางสัญจรทางน้ำ 4 แห่ง
หนองน้ำสาธารณะ 4 แห่ง
1.4.2 มีการจัดการขนส่งมวลชน
- รถโดยสาร จำนวนรถโดยสาร - คัน
- รถไฟ
- เครื่องบิน
- เรือ
1.4.3 โทรคมนาคม
- โทรศัพท์
- อินเตอร์เน็ต
1.4.4 การสื่อสาร
- โทรศัพท์ส่วนบุคคลในพื้นที่ เลขหมาย
- โทรศัพท์สาธารณะในเขตพื้นที่ เลขหมาย
- จำนวนชุมสายโทรศัพท์ในเขตพื้นที่ ชุมสาย
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข พื้นที่
- สถานีวิทยุกระจายเสียง - สถานี สถานีวิทยุโทรทัศน์ - สถานี
- สื่อมวลชนในพื้นที่/หนังสือพิมพ์ - ฉบับ
- ระบบเสียงตามสาย/หอกระจายข่าวในพื้นที่ ให้บริการครอบคลุมร้อยละ 100 ของพื้นที่
- หน่วยงานที่มีข่ายวิทยุสื่อสารในพื้นที่ - แห่ง
1.4.5 การประปา
- จำนวนครัวเรือนที่ใช้ประปา 60 ครัวเรือน
- หน่วยงานเจ้าของกิจการประปา 1 หลังคาเรือน
- น้ำประปาที่ผลิต ลบ.ม./วัน
- น้ำประปาที่ใช้ ลบ.ม./วัน
- แหล่งน้ำดิบที่ใช้ผลิตน้ำประปา 1 แห่ง
- แหล่งน้ำดิบสำรอง หลาย แห่ง
1.4.6 ไฟฟ้า
- จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า 150 แห่ง
- พื้นที่ที่ได้รับบริการไฟฟ้า ร้อยละ 100 ของพื้นที่ทั้งหมด
- ไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟฟ้าส่องสว่าง) จำนวน 4 จุด/ครอบคลุมถนน 4 สาย
1.5 ลักษณะการใช้ที่ดิน
- พื้นที่พักอาศัย 820 ไร่
- พื้นที่พาณิชยกรรม - ไร่
- พื้นที่ตั้งหน่วยงานของรัฐ - ไร่
- สวนสาธารณะ/นันทนาการ 925 ไร่
- พื้นที่เกษตรกรรม 2,250 ไร่
- พื้นที่ตั้งสถานศึกษา 2 ไร่
- พื้นที่ว่าง 925 ไร่
1.6 ด้านเศรษฐกิจ
รายได้/ประชากร รายได้เฉลี่ยของประชากร 44,165 /คน/ปี
1.6.1 อาชีพ
1) อาชีพ เกษตรกรรม
จำนวน 156 ครัวเรือน 52 คน เนื้อที่ประกอบกิจกรรม 2,250 ไร่
ผลผลิตในรอบปี (ตัน/ชิ้น) รายได้ 7,966,500 บาท
2) อาชีพ รับราชการ
จำนวน 8 ครัวเรือน 8 คน รายได้ 1,440,000 บาท
3) อาชีพ ค้าขาย
จำนวน 2 ครัวเรือน 5 คน รายได้ 972,000 บาท
4) อาชีพ รับจ้าง
จำนวน 5 ครัวเรือน 9 คน รายได้ 600,000 บาท
5) อาชีพ เสริม (ระบุ)
จำนวน 12 ครัวเรือน คน รายได้ 3,024,160 บาท
6) อาชีพ เสริม (ระบุ)
จำนวน - ครัวเรือน คน รายได้ - บาท
7) อาชีพ เสริม (ระบุ)
จำนวน - ครัวเรือน คน รายได้ - บาท
8) อาชีพ เสริม (ระบุ)
จำนวน - ครัวเรือน คน รายได้ - บาท
1.6.2 การพาณิชยกรรมและบริการ
- สถานีบริการน้ำมัน 1 แห่ง
- ศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้า - แห่ง
- ตลาดสด - แห่ง
- ร้านค้าทั่วไป 2 แห่ง
1.6.3 สถานประกอบเทศพาณิชย์
- สถานธนานุบาล - แห่ง
- ท่าเทียบเรือ - แห่ง
- โรงฆ่าสัตว์ - แห่ง
1.6.4 สถานประกอบการด้านการบริการ
- โรงแรม - แห่ง
- ธนาคาร - แห่ง
- โรงภาพยนตร์ - แห่ง
- สถานที่จำหน่ายอาหาร ตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข - แห่ง
1.6.5 การอุตสาหกรรม
- ลักษณะการประกอบอุตสาหกรรมในท้องถิ่น - ประเภท
- โรงงาน จำนวน - แห่ง
- จำนวนแรงงาน - คน
1.6.6 การท่องเที่ยว
- จำนวนแหล่งท่องเที่ยว - แห่ง
- จำนวนนักท่องเที่ยว - แห่ง
- รายได้จากการท่องเที่ยว - บาท/ปี
- ค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว - บาท/ปี
1.6.7 การปศุสัตว์
- พื้นที่ปศุสัตว์ - ตร.กม.
- จำนวนครัวเรือนในภาคการปศุสัตว์ - ครัวเรือน
- ผลผลิตทางการปศุสัตว์ - ประเภท
- มูลค่าผลผลิตทางการปศุสัตว์ - บาท/ปี
1.7 ด้านสังคม
- ชุมชน จำนวน 1 แห่ง
- จำนวนบ้าน 150 หลังคาเรือน
- จำนวนประชากรในชุมชน 783 คน
1.7.1 ศาสนา
- ผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 100 ของจำนวนประชากรทั้งหมด
- วัด จำนวน 1 วัด
- ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ - ของจำนวนประชากรทั้งหมด
- มัสยิด จำนวน - แห่ง
- ผู้นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ - ของจำนวนประชากรทั้งหมด
- โบสถ์ จำนวน - แห่ง
- ผู้นับถือศาสนาอื่นๆ ร้อยละ - ของจำนวนประชากรทั้งหมด
- ผู้ที่ไม่นับถือศาสนาใดเลย ร้อยละ - ของจำนวนประชากรทั้งหมด
1.7.2 วัฒนธรรม
ประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ (เรียงตามลำดับความสำคัญมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด)
- ประเพณีบญบั้งไฟ เดือน พฤษภาคม
กิจกรรมโดยสังเขป
ในวันงานประเพณีบุญบั้งไฟ ชาวบ้านจะนำบั้งไฟของแต่ละหมู่บ้านมาจุดแข่งกัน บั้งไฟของบ้านไหนจุดแล้วลอยสูงที่สุดก็จะเป็นผู้ชนะไป ส่วนบั้งไฟที่ลอยต่ำที่สุดหรือแตกก่อนถือว่าแพ้ ผู้แพ้ต้องโดนลงโทษด้วยการอุ้มไปโยนลงบ่อโคลน สร้างเสียงหัวเราะบรรยากาศสนุกสนานในงาน
- ประเพณีบุญพระเวส เดือน มีนาคม
กิจกรรมโดยสังเขป
บุณผะเหวด หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า บุญมหาชาติ เป็นประเพณีบุญตามฮีตสิบสอง ของชาวอีสาน แต่ถ้าถือเป็นเรื่องทาน ก็เป็นประเพณีการบริจาคทานครั้งยิ่งใหญ่ ก็พอจะอนุมานได้ถึงสภาพทั่วไป ของชาวอีสานว่า ดอกจิก ดอกจาน บานราวต้นเดือน ๓ พุทธศาสนิกชนจะเก็บดอกไม้เหล่านี้ มาร้อยเป็นมาลัยเพื่อตกแต่งศาลาการเปรียญสำหรับบุญมหาชาติและในงานนี้ก็จะมีการเทศน์มหาชาติ ซึ่งถือว่าเป็นงานอันศักดิ์สิทธิผู้ใดฟังเทศน์มหาชาติจบภายในวันเดียว และบำเพ็ญคุณงามความดี จะได้อานิสงส์ไปเกิดในภพหน้า
- ประเพณีสงกรานต์ เดือน เมษายน
กิจกรรมโดยสังเขป
ในวันที่ 13 เมษายน จะเรียกว่าวันมหาสงกรานต์ เป็นวันสิ้นปีเก่าเตรียมเข้าสู่วันขึ้นปีใหม่ ผู้คนก็จะปัดกวาด ทำความสะอาดบ้าน เพื่อชำระล้างสิ่งไม่ดีให้ออกไปจากบ้าน เป็นการต้อนรับปีใหม่ บางบ้านก็จะยิงปืน จุดประทัด หรือทำอะไรก็ได้ให้เกิดเสียงดัง เพื่อขับไล่สิ่งไม่ดีต่างๆ ออกไป
วันที่ 14 เมษายน วันเนาหรือวันเน่า ตามวัดวาอารามต่างๆ จะมีการเตรียมงานทำบุญสงกรานต์ ตอนบ่ายๆ จะมีการขนทรายเข้าวัดเตรียมก่อเจดีย์ทราย ในวันนี้คนโบราณมีความเชื่อว่า ห้ามพูดจาไม่ดีต่อกัน ห้ามทะเลาะเบาะแว้ง เพราะจะทำให้โชคไม่ดีไปตลอดปี
วันที่ 15 เมษายน วันเถลิงศกหรือวันพญาวัน เป็นวันที่ผู้คนพากันเข้าวัด ทำบุญอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลแก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว มีการรดน้ำดำหัว ขอพรจากผู้สูงอายุ ผู้อาวุโสในชุมชน มีการก่อเจดีย์ทราย การละเล่นสาดน้ำของหนุ่มสาว ซึ่งเป็นโอกาสสำคัญที่หนุ่มสาวจะได้พบปะกันพูดคุยกัน เกี้ยวพาราสีกันได้ด้วยการละเล่นสาดน้ำ
- ประเพณีบุญเข้าพรรษา เดือน สิงหาคม
กิจกรรมโดยสังเขป
วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่งที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือนตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นการเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง พระสงฆ์จะไม่จำพรรษาไม่ได้ เนื่องจากรูปใดไม่จำพรรษาถือว่าต้องอาบัติทุกกฏตามพระวินัย การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา
ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง 3 เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญใส่บาตร ฟังพระธรรมเทศนา ซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำคัญอื่น ๆ คือ มีการถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำหรับการอยู่จำพรรษา โดยในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า 'บวชเอาพรรษา'
นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2551 รัฐบาลได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็น 'วันงดดื่มสุราแห่งชาติ'โดยในปีถัดมา ยังได้ประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็นวันห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้เพื่อรณรงค์ให้ชาวไทยตั้งสัจจะอธิษฐานงดการดื่มสุราในวันเข้าพรรษาและในช่วง 3 เดือนระหว่างฤดูเข้าพรรษา เพื่อส่งเสริมค่านิยมที่ดีให้แก่สังคมไทย
- ประเพณีบุญกฐิน เดือน พฤศจิกายน
กิจกรรมโดยสังเขป
พิธีทอดกฐินเป็นบุญใหญ่ ดังนั้น โดยมากจึงจัดงานเป็น 2 วัน วันต้นตั้งองค์พระกฐินที่บ้านของเจ้าภาพก็ได้ จะไปตั้งที่วัดก็ได้ กลางคืนมีการมหรสพครึกครื้นสนุกสนาน ญาติพี่น้องและมิตรสหายก็มักจะมาร่วมอนุโมทนา รุ่งขึ้นเป็นที่วัดทอด ถ้าไปทางบก ก็มีแห่ทางขบวนรถหรือเดินขบวนกันไป มีแตรวงหรืออื่น ๆ เป็นการครึกครื้น ถ้าไปทางเรือก็มีแห่งทางขบวนเรือสนุกสนาน โดยมากมักแห่ไปตอนเช้า และเลี้ยงพระเพล การทอดกฐิน จะทอดในตอนเช้านั้นก็ได้ ทอดเพลแล้วก็ได้ สุดแล้วแต่สะดวก การเลี้ยงพระ ถ้าเป็นอย่างในชนบท ชาวบ้านจัดภัตตาหารเลี้ยงด้วย เจ้าของงานกฐินก็จัดไปด้วย อาหารมากมายเหลือเฟือ
1.7.3 สถานที่ศักดิ์สิทธิ์/ที่เคารพของชุมชน/หมู่บ้าน
ศาลปู่ตา
1.8 ด้านการศึกษา
สังกัด |
ท้องถิ่น |
สปช. |
สช. |
กรมสามัญฯ |
กรมอาชีวฯ |
รวม |
ศูนย์พัฒนาก่อนวัยเรียน |
|
|
|
|
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
|
|
|
|
|
|
ระดับก่อนประถมศึกษา |
|
|
|
|
|
|
1. จำนวนโรงเรียน |
|
|
|
|
|
1 |
2. จำนวนห้องเรียน |
|
|
|
|
|
1 |
3. จำนวนนักเรียน |
|
|
|
|
|
7 |
4. จำนวนครู อาจารย์ |
|
|
|
|
|
1 |
ระดับประถมศึกษา |
|
|
|
|
|
|
1. จำนวนโรงเรียน |
|
|
|
|
|
1 |
2. จำนวนห้องเรียน |
|
|
|
|
|
6 |
3. จำนวนนักเรียน |
|
|
|
|
|
62 |
4. จำนวนครู อาจารย์ |
|
|
|
|
|
3 |
ระดับมัธยมศึกษา |
|
|
|
|
|
|
1. จำนวนโรงเรียน |
|
|
|
|
|
1 |
2. จำนวนห้องเรียน |
|
|
|
|
|
20 |
3. จำนวนนักเรียน |
|
|
|
|
|
287 |
4. จำนวนครู อาจารย์ |
|
|
|
|
|
15 |
ระดับอาชีวศึกษา |
|
|
|
|
|
|
1. จำนวนโรงเรียน |
|
|
|
|
|
|
2. จำนวนห้องเรียน |
|
|
|
|
|
|
3. จำนวนนักเรียน |
|
|
|
|
|
|
4. จำนวนครู อาจารย์ |
|
|
|
|
|
|
รวม |
|
|
|
|
|
405 |
1.9 กีฬา นันทนาการ/พักผ่อน
- สนามกีฬาอเนกประสงค์ จำนวน - แห่ง
- สนามฟุตบอล จำนวน - แห่ง
- สนามบาสเกตบอล จำนวน - แห่ง
- สนามตะกร้อ จำนวน - แห่ง
- สระว่ายน้ำ จำนวน - แห่ง
- ห้องสมุดประชาชน จำนวน - แห่ง
- สนามเด็กเล่น จำนวน - แห่ง
- สวนสาธารณะ จำนวน - แห่ง
- อื่นๆ (ระบุ) - แห่ง
1.10 สาธารณสุข
1.10.1 โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ (ถ้ามี) สังกัด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนแรด
- เป็นของท้องถิ่น จำนวน 1 แห่ง เตียงคนไข้ จำนวน - เตียง
- เป็นของเอกชน จำนวน - แห่ง เตียงคนไข้ จำนวน - เตียง
- เป็นของรัฐบาล จำนวน 1 แห่ง เตียงคนไข้ จำนวน - เตียง
- ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน - แห่ง
- คลินิกเอกชน จำนวน - แห่ง
1.10.2 บุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานพยาบาลทุกแห่ง ทุกสังกัดในเขตพื้นที่
- แพทย์ จำนวน 4 คน
- พยาบาล จำนวน - คน
- ทันตแพทย์ จำนวน - คน
- เภสัชกร จำนวน - คน
- เจ้าพนักงานส่งเสริมสาธารณสุข จำนวน - คน
- พนักงานอนามัย จำนวน 3 คน
- เจ้าพนักงานสุขาภิบาล จำนวน - คน
- เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน จำนวน - คน
- อสม 79 คน
- นักวิชาการสาธารณสุข 1 คน
1.10.3 ผู้เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลสังกัด (จำนวนต่อปี)
- ท้องถิ่น 3 คน ผู้ป่วยใน คน ผู้ป่วยนอก 30-40 คน
- เอกชน - คน ผู้ป่วยใน คน ผู้ป่วยนอก - คน
- รัฐบาล - คน ผู้ป่วยใน คน ผู้ป่วยนอก - คน
- ศูนย์บริการสาธารณสุข - คน
1.10.4 สาเหตุการเจ็บป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุขทุกแห่ง
- อุบัติเหตุ - ราย/ปี คิดเป็นงบประมาณในการรักษาทั้งสิ้น - บาท
- สาเหตุอื่น - ราย/ปี คิดเป็นงบประมาณในการรักษาทั้งสิ้น - บาท
- ประเภทการเจ็บป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุข
ทุกแห่ง 5 อันดับแรก
1. ไข้หวัด
2. โรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดัน
3. โรคหลอดเลือดตีบตัน
4.อุบัติเหตุ
1.11 คุณภาพชีวิตด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (จากสถิติในรอบปีที่ผ่านมา)
จำนวนผู้เสียชีวิตโดยอุบัติเหตุจากรถยนต์ จำนวน 1 คน
- ความเสียหายจากภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษย์ทำและจากภัยธรรมชาติ จำนวน 200,0บาท
- จำนวนคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์และประชาชน จำนวน - คดี
- จำนวนคดีเสียชีวิต ร่างกาย และเพศ จำนวน - คดี
- จำนวนอุบัติเหตุจากรถยนต์ จำนวน 1 ครั้ง
1.12 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
1.12.1 สถิติเพลิงไหม้ในรอบปี (1 ม.ค. - 31 ธ.ค.) จำนวน 1 ครั้ง
- ความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจากเหตุเพลิงไหม้ในรอบปีที่ผ่านมา
- คิดเป็นผู้เสียชีวิต - คน
- บาดเจ็บ - คน
- ทรัพย์สินมูลค่า - บาท
1.12.2 รถยนต์ดับเพลิง จำนวน 1 คัน แยกเป็น (แยกตามขนาดจุน้ำ)
- คันที่ 1 จุน้ำได้ 6,000 ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ.2559 ราคา2,500,00บาท
- คันที่ 2 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 3 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 4 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 5 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
1.12.3 รถบรรทุกน้ำ จำนวน - คัน แยกเป็น (แยกตามขนาดจุน้ำ)
- คันที่ 1 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 2 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 3 จุน้ำได้ - .ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 4 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 5 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
1.12.4 รถกระเช้า จำนวน - คัน
- คันที่ 1 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 2 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 3 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
1.12.5 รถบันได จำนวน - คัน
- คันที่ 1 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 2 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 3 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 4 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
- คันที่ 5 จุน้ำได้ - ลบ.ม. ซื้อเมื่อ พ.ศ. - ราคา - บาท
1.12.6 เรือยนต์ดับเพลิง จำนวน - ลำ
1.12.7 เครื่องดับเพลิงชนิดหาบหาม จำนวน - เครื่อง
1.12.8 พนักงานดับเพลิง จำนวน 3 คน
1.12.9 อาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จำนวน 4 คน
1.12.10 การฝึกซ้อมบรรเทาสาธารณภัยปีที่ผ่านมา จำนวน 4 คน
1.13 สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
13.1 อุณหภูมิสูงสุด 40 องศาเซลเซียส ต่ำสุด 15 องศาเซลเซียส
- อุณหภูมิเฉลี่ยต่อเดือน มี.ค.-มิ.ย 34 – 36 องศาเซลเซียส
- อุณหภูมิเฉลี่ยต่อเดือน ก.ค.-ต.ค 30 – 32 องศาเซลเซียส
- อุณหภูมิเฉลี่ยต่อเดือน พ.ย.-ก.พ 25 – 27 องศาเซลเซียส
13.2 ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงสุด พ.ศ. 2558
13.3 ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่ำสุด พ.ศ. 2560
13.4 ป่าไม้ จำนวน 3 แห่ง
1.14 แหล่งน้ำ
14.1 หนอง บึง จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ (ระบุชื่อ)
- หนองตอ คิดเป็นพื้นที่กักเก็บน้ำประมาณ ลบ.ม.
- หนองเรือ คิดเป็นพื้นที่กักเก็บน้ำประมาณ ลบ.ม.
- หนองจอกจาน คิดเป็นพื้นที่กักเก็บน้ำประมาณ ลบ.ม.
- หนองพวงโพด คิดเป็นพื้นที่กักเก็บน้ำประมาณ ลบ.ม.
14.2 คลอง ลำธาร ห้วย จำนวน - แห่ง ได้แก่ (ระบุชื่อ)
14.3 การระบายน้ำ
- พื้นที่น้ำท่วมถึง คิดเป็นร้อยละ ของพื้นที่ทั้งหมด
- ระยะเวลาเฉลี่ยที่น้ำท่วมขังนานที่สุด วัน ประมาณช่วงเดือน
- เครื่องสูบน้ำ
- เครื่องที่ 1 เส้นผ่าศูนย์กลาง นิ้ว
- เครื่องที่ 2 เส้นผ่าศูนย์กลาง นิ้ว
14.4 น้ำเสีย
- ปริมาณน้ำเสีย ลบ.ม./วัน
- ระบบบำบัดน้ำเสียที่ใช้ (ระบุ) รวม แห่ง
- น้ำเสียที่บำบัดได้ จำนวน ลบ.ม./วัน
- ค่า BOD ในคลอง/ทางระบายน้ำสายหลัก
14.5 ขยะ
- ปริมาณขยะ ตัน/วัน
- รถยนต์ที่ใช้จัดเก็บขยะ รวม - คัน แยกเป็น (แยกตามขนาดความจุขยะ)
- รถยนต์คันที่ 1 รถเก็บขนขยะ ขนาดความจุ - ลบ.หลา ซื้อเมื่อ พ.ศ.-
- รถยนต์คันที่ 2 รถเก็บขนขยะ ขนาดความจุ - ลบ.หลา ซื้อเมื่อ พ.ศ.-
- ขยะที่เก็บขนได้ จำนวน ลบ.หลา/วัน
- ขยะที่กำจัดได้ จำนวน ลบ.หลา/วัน
- กำจัดขยะโดยวิธี ( ) กองบนพื้น ( ) กองบนพื้นแล้วเผา
( ) ฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ ( ) หมักทำปุ๋ย
( ) เผาในเตาเผาขยะ ( ) อื่นๆ (ระบุ)
- ที่ดินสำหรับกำจัดขยะที่กำลังใช้ จำนวน ไร่ ตั้งอยู่ที่
- ห่างจากเขตท้องถิ่นเป็นระยะทาง กม.
- ที่ดินสำหรับกำจัดขยะที่ใช้ไปแล้ว จำนวน ไร่
- เหลือที่ดินกำจัดขยะได้อีก จำนวน ไร่
- คาดว่าจะสามารถกำจัดขยะได้อีก ปี
- สภาพการเป็นเจ้าของที่ดินสำหรับกำจัดขยะ
- ท้องถิ่นจัดซื้อเองเมื่อ พ.ศ. ราคา บาท
- เช่าที่ดินเอกชน ตั้งแต่ พ.ศ. ปัจจุบันเช่าปีละ บาท
- อื่นๆ (ระบุ)
- ที่ดินสำรองที่เตรียมไว้สำหรับกำจัดขยะ จำนวน ไร่
- ที่ตั้งสำรองที่เตรียมไว้สำหรับกำจัดขยะห่างจากท้องถิ่นเป็นระยะทาง กม.
1.15 ด้านการเมือง การบริหาร (ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น อาสาสมัคร)
ผู้ใหญ่บ้าน ชื่อ นางรัตนนาพร นามสกุล เกษศิริ
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ชื่อ นางสาวไพรวัน นามสกุล มงคล
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ชื่อ นายบุญเทียม นามสกุล พันธ์ศรี
สมาชิก อบต. ชื่อ นายเตือน นามสกุล สมบัติวงศ์
สมาชิก อบต. ชื่อ สมบัติ นามสกุล ยอดสง่า
อาสาพัฒนาชุมชน ชื่อ นางจรรยาพร นามสกุล คนึงรมย์
อาสาพัฒนาชุมชน ชื่อ นางศรีพันธ์ นามสกุล คำไมล์
อาสาพัฒนาชุมชน ชื่อ นายสังวร นามสกุล ยางงาม
อาสาพัฒนาชุมชน ชื่อ นายบุญตา นามสกุล ศรีบุญเรือง
อาสาสมัครอื่นๆระบุ อสม. ชื่อ นายมานิตย์ นามสกุล สมบัติวงศ์
อาสาสมัครอื่นๆระบุ อสม. ชื่อ นายคำภา นามสกุล เยี่ยงไธสงค์
อาสาสมัครอื่นๆระบุ อสม. ชื่อ นายจัด นามสกุล จิตรัมย์
อาสาสมัครอื่นๆระบุ อสม. ชื่อ นายเปลี่ยน นามสกุล สานุสันต์
อาสาสมัครอื่นๆระบุ อสม. ชื่อ นายมา นามสกุล เพศหงส์
1.16 ข้อมูลกลุ่ม / องค์กรในชุมชน
1) ชื่อกลุ่ม สตรี
จัดตั้งเมื่อ 20 พฤษภาคม 2560 เป็นเวลา - ปี
ปัจจุบันมีเงินทุน - บาท สมาชิก 50 คน
ประธาน ชื่อ นางอุไรวรรณ ทุนเพิ่ม หมายเลขโทรศัพท์ 061-0703501
กิจกรรมของกลุ่ม ทอเสื่อกก
2) ชื่อกลุ่ม ปราชญ์ชาวบ้าน
จัดตั้งเมื่อ มีนาคม 2560 เป็นเวลา - ปี
ปัจจุบันมีเงินทุน บาท สมาชิก 20 คน
ประธาน ชื่อ นางเจียม ศรีจันทร์ หมายเลขโทรศัพท์ 096-1641074
กิจกรรมของกลุ่ม ทอเสื่อกก
1.17 รายละเอียดของกลุ่ม/ สถานที่สำคัญๆ/ ประเพณีวัฒนธรรมที่สำคัญๆ
วัฒนธรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน คือ
-การให้ความเคารพผู้สูงอายุ
-การแต่งกาย
-และภาษาท้องถิ่นแบบไทยอีสาน
ประเพณีที่สำคัญของชุมชน ได้แก่
-บุญบั้งไฟ จัดทำเดือนพฤษภาคม ของทุกปี
บทที่ 2
การประเมินสถานการณ์/วิเคราะห์ชุมชน/หมู่บ้าน
จากการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชน/หมู่บ้านในบทที่ 1 แล้วนั้น สามารถนำมาสู่การประเมินสถานการณ์/วิเคราะห์ชุมชน/หมู่บ้าน ได้ดังนี้
2.1 ปัจจัยภายในชุมชน/หมู่บ้านที่เป็น “จุดเด่น”
1. ผู้นำชุมชน กรรมการหมู่บ้าน และแกนนำกลุ่มต่างๆสนับสนุนการทอเสื่อกก การจักสาน
2. มีการจัดกิจกรรมในวันสำคัญต่างๆในหมู่บ้านอย่างสม่ำเสมอ
3. พื้นที่ราบลุ่ม ดินอุดมสมบูรณ์เหมาะกับการทำการเกษตร
4. มีศาลพ่อปู่แก่ เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนในหมู่บ้าน
5. มีห้วย หนอง คลอง บึง ธรรมชาติที่ใช้ในการเกษตรอย่างเพียงพอ
2.2 ปัจจัยภายในชุมชน/หมู่บ้านที่เป็น “จุดอ่อน”
1. งบประมาณไม่เพียงพอ
2. ไม่ค่อยเข้าร่วมประชุม
3. ถนนชำรุด เพราะ เป็นดินเมื่อฝนตกลงมาทำให้น้ำขัง
4. การแบ่งพรรคแบ่งพวก
5. เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ปุ๋ยเคมีและยาปราบศัตรูพืชในการทำการเกษตรทำให้ต้นทุนสูง
2.3 ปัจจัยภายนอกชุมชน/หมู่บ้านที่เป็น “โอกาส”
1. ได้รับงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบล
2. ได้รับความช่วยเหลือจากหมู่บ้านใกล้เคียง
3. ภาครัฐให้การส่งเสริมในการทำการเกษตร
4. สำนักงานพัฒนาชุมชนให้การสนับสนุน
2.4 ปัจจัยภายนอกชุมชน/หมู่บ้านที่เป็น “อุปสรรค”
1. ราคาผลผลิตไม่แน่นอน เพราะ ขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล
2 .อุปกรณ์ทางการเกษตรมีราคาแพง เพราะ กลไกทางด้านเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า
3. อบต.มีงบประมาณจำกัด เพราะ ต้องแบ่งไปบริหารหมู่บ้านอื่นๆ
4. ภาครัฐมีนโยบายไม่แน่นอน เพราะ มีการเปลี่ยนคณะรัฐมนตรี
2.5 บทสรุปวิเคราะห์ผลการประเมินสถานการณ์/วิเคราะห์ชุมชน/หมู่บ้าน
ต้องให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในชุมชนอย่างแท้จริงในการช่วยกันป้องกันและแก้ไข เพื่อให้ชุมชนมีความสามัคคีกัน ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก เข้าร่วมการประชุมและมีการจัดกิจกรรมทุกวันสำคัญต่างๆเพื่อพัฒนาชุมชนให้ดีขึ้น พร้อมกับช่วยกันส่งเสริมการทอเสื่อกก การจักสาน ซึ่งเป็นอาชีพเสริมของชุมชนให้เป็นที่รู้จัก ทำให้เกิดรายได้และลดงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด ส่งเสริมเกษตรกรผู้ทำเกษตรกรรมให้ลดการใช้สารเคมีและยาปราบศัตรูพืช เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี ได้มาตรฐานเพื่อให้ได้ราคาดี
แต่อย่างไรก็ตาม การที่ชุมชนจะพัฒนาให้ดีขึ้นต้องได้รับความร่วมมือจากผู้นำชุมชนเป็นต้นแบบที่ดี ประชาชนในชุมชนให้ความร่วมมือ และการได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชน
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนา
จากการประเมินสถานการณ์/วิเคราะห์ชุมชน/หมู่บ้านในบทที่ 2 แล้วนั้น สามารถระบุสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนา ได้ดังนี้
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
ซื้อปุ๋ยเคมี 951,125 ต่อปี |
-ต้องการให้ผลผลิตทางการเกษตรมีผลผลิตสูงขึ้น |
-ส่งเสริมการทำปุ๋ยอินทรีย์
-รณรงค์การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ |
2 |
ซื้อยาปราบศัตรูพืช 1,218,000.00 ต่อปี |
-มีศัตรูพืชเป็นจำนวนมากในนาข้าว
-เพิ่มผลผลิตในการเกษตร |
-รณรงค์การลดใช้สารเคมี
-อบรมให้ความรู้ด้านการกำจัดศัตรูพืช |
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านการเกษตร
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
ขาดน้ำในการเกษตรในพื้นที่สูงของหมู่บ้าน |
-ไม่มีคลองส่งน้ำ
-ไม่มีสระน้ำสำหรับการเกษตร |
-ขอรับการสนับสนุนทำคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตร |
2 |
เมล็ดพันธุ์ข้าวปนกัน |
-การทำนาแต่ละปีใช้พันธุ์ข้าวไม่เหมือนกัน
-ในช่วงเก็บเกี่ยว รถที่ใช้เกี่ยวข้าวเกี่ยวมาหลายพื้นที่ |
-ขอรับการสนับสนุนเครื่องแยกเมล็ดพันธุ์ข้าว
-รณรงค์การปลูกข้าวพันธุ์เดียวกัน |
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านครอบครัวและสังคม
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
เยาวชน ประพฤติตนไม่เหมาะสม/ทะเลาะวิวาท |
-ขาดการอบรม/แนะนำในสิ่งที่ถูกต้อง
-กลุ่มเยาวชนขาดความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม/ประเพณีวัฒนธรรมของไทยที่ถูกต้อง |
-ให้ความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม
-หาอาชีพเสริมที่ทำให้เกิดรายได้
-ให้ความรู้ด้านอาชีพและกฎหมาย |
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
ขาดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ/ป่าไม้และแหล่งน้ำ |
-ที่สาธารณะ ถูกบุกรุก
-ขาดความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึกความรับผิดชอบ
-ขาดการดูแล รักษาทรัพยากรของชุมชน
-เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน |
-รณรงค์ สร้างจิตสำนึกในการหวงแหนและปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะ ที่ดินส่วนตัว เป็นประจำทุกปี
-สร้างกฎระเบียบในการป้องกัน ดูแลรักษาที่สาธารณะแหล่งน้ำ |
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
ชุมชนเกิดความขัดแย้ง |
-ชาวบ้านไม่เข้าร่วมประชุม
-ไม่รับฟังความคิดเห็นของกันและกัน |
-สร้างกฎระเบียบภายในชุมชน |
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัย
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
ประชาชนเป็นไข้เลือดออก |
-ไม่มีการเทน้ำขังที่อยู่ตามภาชนะ
-ชาวบ้านเข้าไปหาของป่า |
-ใส่ทรายอะเบสในภาชนะ
-คว่ำภาชนะ |
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านการมีเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพชุมชน
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
ประชาชนขาดการเรียนรู้ ขาดความเข้าใจในการประกอบอาชีพ |
-ขาดการเรียนรู้ประสบการณ์ประกอบอาชีพอย่างจริงจัง
-ไม่มีการวางแผนชีวิต |
-ให้ความรู้ความเข้าใจในด้านการดำรงชีวิต
-ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต |
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านทุนในชุมชน/หมู่บ้าน
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
ชาวบ้านทานผักที่มีแต่สารเคมี |
-ในชุมชนไม่มีการปลูกพืชผักทานเอง
|
-ปลูกพืชผักสวนครัวทานเองในชุมชน
-ปลูกพืชผักที่ปลอดสารเคมี |
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
ถนนชำรุด |
-น้ำท่วมขังกัดเซาะถนน
-รถบรรทุกขนาดใหญ่วิ่งผ่าน |
-ห้ามรถบรรทุกหนักเกิน 10 ตันวิ่งผ่าน |
สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาด้านอื่นๆ (ตามที่เห็นความจำเป็น/เหมาะสม)
ลำดับความสำคัญ |
สภาพปัญหา |
สาเหตุ |
แนวทางพัฒนา |
1 |
การดื่มเครื่องดื่มแฮอกฮอลล์ |
-เทศกาล
-กินเลี้ยง |
-รณรงค์ลดการดื่มแอลกอฮอลล์ |
แผนชุมชน
จากการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชน ประเมินสถานการณ์/วิเคราะห์ชุมชน และระบุสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนา นำไปสู่การจัดทำแผนชุมชนเพื่อนำไปสู่สังคมเป็นสุขผ่านกระบวนการพัฒนาประชาสังคมของ หมู่บ้านหนองตอ หมู่ 8 ตำบลดอนแรด อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ได้ดังนี้
แผนพัฒนาชุมชนแยกเป็นรายด้าน
ด้านเศรษฐกิจชุมชน
1. ชื่อโครงการ |
โครงการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- ปัจจุบันการทำการเกษตรของประเทศไทย มีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจำนวนมาก ซึ่งมีราคาแพงเพิ่มขึ้นทุกปีตามภาวะราคาตลาดน้ำมันโลก สารเคมีที่ใช้มีการสะสมในดิน น้ำ และผลผลิต เป็นอันตรายต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค และผลผลิตที่เป็นสินค้าส่งออกมีโอกาสที่จะถูกประเทศคู่ค้าส่งคืนกลับ จึงมีความจำเป็นจะต้องปรับเปลี่ยนระบบการผลิตใหม่ หันมาใช้สารอินทรีย์ทดแทนอย่างน้อยให้ปลอดภัยต่อผู้บริโภค (อาหารปลอดสารพิษ) และพัฒนาไปสู่อาหารไร้สารพิษและเกษตรอินทรีย์ในที่สุด
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงจำเป็นที่จะต้องให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ รู้จักผลิตและใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมี โดยจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรเครือข่ายผู้ใช้สารอินทรีย์ในการเกษตรและสร้างกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง สามารถใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรได้อย่างยั่งยืน |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
- เพื่อให้มีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในชุมชน
-เพื่อลดการใช้สารเคมี |
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
- ครัวเรือนมีปุ๋ยหมักอินทรีย์ใช้ในครอบครัวและขายเพิ่มรายได้
-ชุมชนลดการใช้สารเคมี |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- บรรยายวิธีการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร การฝึกปฏิบัติในพื้นที่ สอนการบริหารกลุ่มให้เข้มแข็ง อบรมถ่ายทอดความรู้การใช้ปุ๋ยหมักอินทรีย์ให้เหมาะสม |
6. ผู้รับผิดชอบ |
- กลุ่ม
- ชุมชน |
ด้านการเกษตร
1. ชื่อโครงการ |
โครงการทำพันธุ์ข้าว |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- ข้าวเป็นพืชอาหารหลักที่สำคัญของประเทศไทย ในการปลูกข้าวของไทยนั้นมีพันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกอยู่มากมาย การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่ดีเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญเป็นอันดับแรกในการเพิ่มผลผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว โดยไม่ต้องเพิ่มทุนการผลิตในส่วนที่ไม่คุ้มค่ากับการลงทุนทั้งนี้หากได้พันธุ์ข้าวที่ดีย่อมส่งผลในการเพิ่มผลผลิตข้าวต่อไร่สูง มีคุณภาพเมล็ดมาตรฐาน คุณสมบัติในการต้านทานโรคและแมลงศัตรูข้าวได้ดี มีคุณค่าทางโภชนาการสูงเป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภคทั่วไป จึงมีความจำเป็นต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์ข้าว โดยการคัดเลือกพันธุ์ข้าวที่ดี เหมาะกับพื้นที่ ซึ่งจะทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มช่วยเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพให้เกษตรกร ผู้ปลูกข้าวสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมปัจจุบันได้ดี |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
- เพื่อให้มีเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพ
-เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น |
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
- เมล็ดพันธุ์ข้าวมีคุณภาพ
-เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- กิจกรรมฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวพันธุ์ดี
- กิจกรรมสนับสนุนปัจจัยการผลิตให้แก่กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าว |
6. ผู้รับผิดชอบ |
- ชุมชน |
7. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
- ชุมชน
|
ด้านครอบครัวและสังคม
1. ชื่อโครงการ |
โครงการสนับสนุนการเล่นกีฬาของเยาวชน |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- ปัจจุบันท้องถิ่นจะเจริญก้าวหน้าด้วยดี จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของคนในท้องถิ่นอย่างทั่วถึง และต่อเนื่องในทุกด้าน การออกกำลังกายและการเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอเป็นกระบวนการหนึ่งที่จะสามารถช่วยพัฒนาคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะช่วยพัฒนาให้มีร่างกายแข็งแรง พลานามัยสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพจิตที่ดี มีอารมณ์ที่มั่นคง สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมของท้องถิ่น ได้อย่างเหมาะสม |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
- เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง
- เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
|
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
- มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
- รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- ฟุตบอลเชื่อมความสัมพันธ์
- วอลเลย์บอล
- ตะกร้อ
- เปตอง
- กีฬาพื้นบ้าน
- วิ่งกระสอบ
- ชักเย่อ |
6. ผู้รับผิดชอบ |
- ชุมชน |
7. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
- ชุมชน
|
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. ชื่อโครงการ |
โครงการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- ปุ๋ยหมักเป็นสิ่งที่มีคุณค่ามากในทางการเกษตร แต่ก็ยังไม่ได้รับความสนใจหรือแพร่หลายเท่าที่ควรอาจจะเป็นเพราะสาเหตุหลายประการด้วยกัน เช่น เกษตรกรยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญที่แท้จริงของปุ๋ยหมักว่ามีคุณค่าเพียงใดในการช่วยปรับปรุงดินให้ดีขึ้น หรือช่วยรักษาสภาพความอุดมสมบูรณ์ของดินให้ดีอยู่
เสมอ ไม่เสื่อมโทรมลงเรื่อยๆ เหมือนกับการใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว ประโยชน์ของปุ๋ยหมักยังจะช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ทำให้ดินอุดมสมบูรณ์ช่วยเปลี่ยนสภาพของดินจากดินเหนียวหรือดินทรายให้เป็นดินร่วนทำให้สะดวกใน
การไถพรวนช่วยสงวนรักษาความชุ่มชื้นในดินได้ดีขึ้นทำให้การถ่ายเทอากาศในดินได้ดีช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ปุ๋ยเคมี และลดการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้ช่วยกระตุ้นให้ธาตุอาหารพืชบางอย่างในดินที่ละลายน้ำยากให้ละลาย
น้ำง่ายเป็นอาหารแก่พืชได้ดีขึ้นไม่เป็นอันตรายต่อดินแม้จะใช้ในปริมาณมากๆ ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ ช่วยปรับสภาพแวดล้อม เช่น กำจัดขยะมูลฝอยและวัชพืชน้ำให้หมดไป |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
- เพื่อให้โครงสร้างของดินดีขึ้น
-เพื่อให้รู้จักคุณค่าของดิน |
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
- โครงสร้างดินดีขึ้น ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพ
-รู้จักคุณค่าของดิน |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- จัดทำแปลงเรียนรู้ เกษตรกรรายอื่นๆ เรียนรู้แบบเกษตรกรมีส่วนร่วม จากแปลงเรียนรู้ที่ได้รับการคัดเลือก ในทุกกระบวนการผลิต |
6. ผู้รับผิดชอบ |
- ชุมชน |
7. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
- ชุมชน
|
ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน
1. ชื่อโครงการ |
โครงการจิตอาสาพัฒนาสาธารณประโยชน์ |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- การปลูกจิตสานึกด้านจิตสาธารณะ ( Public Mind ) คือการปลูกฝังจิตใจให้บุคคลมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นการสร้างคุณธรรม จริยธรรมจากภายใน ให้บุคคลรู้จักเสียสละ ร่วมแรงร่วมใจและร่วมมือในการทากิจกรรมที่เป็นประโยชน์เพื่อส่วนรวม หรือกิจกรรมที่ช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วในสังคม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างสรรค์ประโยชน์สุขของคนในสังคมร่วมกัน ก่อให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของในสิ่งที่เป็นสาธารณะ ในสิทธิและหน้าที่ ที่จะดูแลและบารุงรักษาร่วมกัน เกื้อกูลช่วยเหลือผู้ที่ทุกข์ยาก หรือผู้ที่ร้องขอความช่วยเหลือ โดยไม่ขัดต่อต่อกฎหมายหรือกฎระเบียบสังคม |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
- เพื่อสร้างบุคลากรที่มีจิตอาสา
-เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้กับบุคลากร |
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
- มีบุคลากรที่มีจิตอาสาเพิ่มขึ้น
-บุคลากรมีจิตสำนึกที่ดี |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- บรรยายความสำคัญและกระบวนการ ของกิจกรรมพัฒนาจิตสาธารณะ
|
6. ผู้รับผิดชอบ |
- ชุมชน |
7. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
- ชุมชน
|
ด้านสุขภาพอนามัย
1. ชื่อโครงการ |
โครงการรณรงค์ปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- ปัจจุบันระบบสุขภาพของไทยที่เน้นการ 'สร้าง' มากกว่าการ 'ซ่อม' สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุกและการสร้างเสริมสุขภาพ เนื่องจากประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาสนใจในการออกกำลังกาย เพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ตามที่รัฐบาลได้กำหนดนโยบาย 5 อ. เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชน ประกอบด้วย การออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์และสุขภาพจิต อนามัยชุมชน และอโรคยา ซึ่งให้เริ่มจากการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นเรื่องแรกและบูรณาการกับกิจกรรมอื่นๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้ภาครัฐสนับสนุนองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมใจแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชน |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
-เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง
-เพื่อลดมลภาวะทางอากาศ
-เพื่อลดเสียงรบกวน |
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
-มีสุขภาพที่ดีขึ้น
-ไม่มีมลภาวะทางอากาศ
-ไม่มีเสียงรบกวน |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- ออกกำลังกายโดยการ เดิน วิ่ง และปั่นจักรยานอย่างต่อเนื่อง |
6. ผู้รับผิดชอบ |
- ชุมชน |
7. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
- ชุมชน
|
4.7 ด้านการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพชุมชน
1. ชื่อโครงการ |
โครงการฝึกเยาวชนต้นแบบให้กล้าแสดงออกต่อสาธารณชนในสิ่งที่เหมาะสม |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- เยาวชนเป็นพลังที่สำคัญในการพัฒนาสังคม การพัฒนาเพิ่มทักษะให้เยาวชนเหล่านี้ได้ให้เป็นผู้กล้าที่จะสร้างสรรค์แสดงออกถึงความสามารถ โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมในการดำเนินชีวิต คิดดี ทำดีนำความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อตนเองและเพื่อส่วนรวม ปฏิบัติตนตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย จะทำให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สร้างสัมพันธ์ที่ดีระหว่างตัวเราและผู้อื่น นอกจากการเรียนแล้ว ก็เริ่มช่วยกันสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่โดยใช้ความรู้ที่ได้มาให้เป็นประโยชน์แก่ชุมชน |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
- เพื่อให้เยาวชนได้กล้าแสดงออกในสิ่งที่เหมาะสม
-เพื่อให้เยาวชนยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม |
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
- มีเยาวชนต้นแบบที่กล้าแสดงออกในทางที่เหมาะสมและสร้างสภาวะผู้นำแก่เยาวชน
-เยาวชนมีคุณธรรม จริยธรรม |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- จัดให้มีการสัมมาบุคลิกภาพและเสริมสร้างความเป็นผู้นำให้กับเยาวชน
|
6. ผู้รับผิดชอบ |
- ชุมชน |
7. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
- ชุมชน
|
ด้านทุนในชุมชน/หมู่บ้าน
1. ชื่อโครงการ |
โครงการปลูกพืชผักสวนครัว |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- พืชผักเป็นพืชอาหารที่คนไทยนิยมนำ มาใช้รับประทานกันมากเนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารทั้งวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักนั้น มักจะเลือกบริโภคผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำ ลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทำ ให้เกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำ จัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อผู้ซื้อนำ มาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว เกษตรกรจึงควรหันมา ทำ การปลูกผักปลอกภัยจากสารพิษ โดยนำ เอาวิธีการป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เป็นการทดแทนหรือลดปริมาณการใช้สารเคมีให้น้อยลง เพื่อความปลอดภัยของเกษตรกร ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
- เพื่อบริโภคในครัวเรือน
- เพิ่มรายได้ |
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
- มีพืชผักสวนครัวไว้บริโภคในครัวเรือน พร้อมขายเพิ่มรายได้ |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- (การคัดเลือกพื้นที่,การจัดการพันธุ์,การจัดการดินและปุ๋ย)
- การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน
- การเก็บเกี่ยวและวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
- การตรวจวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในพืชผักและฝึกปฏิบัติ
- การวางแผนการผลิตและการตลาด |
6. ผู้รับผิดชอบ |
- ชุมชน |
7. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
- ชุมชน
|
ด้านระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน
1. ชื่อโครงการ |
โครงการสร้างถนนให้เสร็จสมบูรณ์ตลอดสาย |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- ถนนในหมู่บ้านยังขาดการพัฒนาในการเข้าถึงหมู่บ้าน มีสภาพเป็นถนนลูกรัง
ความต้องการของชุมชน ต้องการให้มีการพัฒนาโดยการก่อสร้างถนนที่มีสภาพถาวรเพื่อสะดวกในการสัญจร อันนำมาซึ่งอาชีพและรายได้ของคนในท้องถิ่น |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
- เพื่อสะดวกในการสัญจรไปมา
-เพื่อลดอุบัติเหตุบนถนน |
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
- การสัญจรไปมาสะดวก
-อุบัติเหตุลดลง |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- พัฒนาถนนให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น
|
6. ผู้รับผิดชอบ |
- องค์การบริหารส่วนตำบล |
7. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
- องค์การบริหารส่วนตำบล
|
ด้านอื่นๆ (ตามที่เห็นความจำเป็น/เหมาะสม)
1. ชื่อโครงการ |
โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม สำหรับผู้นำ |
2. ความสำคัญของโครง การหลักการและเหตุผล |
- ในปัจจุบันปัญหาการขาดคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทยได้ทวีความรุนแรง และมีความหลากหลายมากขึ้นกว่าในอดีตที่ผ่านมา สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากสภาพแวดล้อม และเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสการพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไร้พรมแดน และปัญหาการขาดคุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคม ยังส่งผลถึงเด็ก เยาวชน และประชาชนในสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ให้หลงผิดและมีพฤติกรรมที่เบี่ยงเบน ขาดระเบียบวินัย ซึ่งทำให้ภูมิคุ้มกันของเด็กเยาวชนและประชาชนในสังคมที่จะต้านทานกับปัญหา ต้องขาดความมั่นคงจนเกิดปัญหาต่างๆ ของสังคมตามมา เช่น สำหรับเด็กและเยาวชน ได้แก่ ปัญหาการก่อเหตุทะเลาะวิวาท ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน ปัญหาการติดเกมส์ สำหรับประชาชนทั่วไป ได้แก่ปัญหาการทำงานที่ไม่มีความสุข ปัญหาความสามัคคีในองค์กร เป็นต้น |
3. วัตถุประสงค์ของโครงการ |
- เพื่อให้ได้ผู้นำที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวิสัยทัศน์
-เพื่อให้ผู้นำประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี |
4. ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
- ชุมชนมีผู้นำที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวิสัยทัศน์
-ผู้นำเป็นแบบอย่างที่ดี |
5. กิจกรรมที่สำคัญของโครงการ |
- อบรมคุณธรรมจริยธรรม เพื่อนำเสนอชุมชน และผู้นำที่มีประสิทธิภาพ |
6. ผู้รับผิดชอบ |
- ชุมชน |
7. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
- ชุมชน
|
|